ชีวิตทีละก้าว

เพิ่งกลับจากไปธุดงค์ที่เลยและหนองคาย มีอะไรหลายอย่างที่เกิดขึ้นที่อยากจะบรรยายแต่ยังเรียงลำดับไม่ถูก ก็ค่อยๆ ไล่ไปทีละเรื่องแล้วกัน At the beginning, I was debating whether I should write in Thai or in English. I find I can communicate something really well in Thai while some thoughts arise in English. So I decided to take the first cut in Thai and make the revision in English.

อย่างแรกเลยคงเป็นความแปลกใจในตัวเองที่สลัดความเป็นคุณนาย (Snobbishness) ความเรื่องมาก เอาแต่ใจตัวเอง (Control freak) ออกไปได้อย่างไม่ยาก ก่อนไปร่วม ฉันก็เริ่มสติแตกว่าฉันนี้จะต้องไปพึ่งคนอื่น (namely, my own Phra Ajahn) มากขนาดนั้นเชียวหรือ ทั้งเรื่องที่พัก เรื่องอาหาร และไม่สามารถใช้เงินเนรมิตสิ่งใดๆ ได้ ได้รับการเอื้อเฟื้อมาแค่ไหนก็แค่นั้น (เพิ่งชัดเจนว่าฉันยึดเงินเป็นสรณะด้วย) คือ ด้วยความที่เราเรียนหนังสือที่อเมริกามานาน I equated my self respect with the ability to buy my way out of things and do what I want. จะให้ไปขอแบ่งปันจากคนอื่น ทำให้เค้าได้กินน้อยลง มันก็ยังไงอยู่ ถึงแม้ว่าจะไปกับพระอาจารย์ที่เราไว้ใจและเคารพมากก็ตาม (ลึกๆ คงเป็นเพราะกลัวอดมากกว่า ไม่ใช่ทิฎฐิมานะซะทีเดียว)

ก็คุยกับท่านแล้วก็ได้ความว่า ฉันควรจะใช้โอกาสนี้ลองลดมานะลงไปซะบ้าง ถ้ายังเริ่ดเชิดหยิ่งอยู่อย่างนี้ ภาวนายังไงก็ไม่ขึ้นหรอก ใจฉันก็บอกว่า เอาวะ ไม่ลองก็ไม่รู้ อย่างมากก็กลับบ้าน...

วัดบรรพตคีรี ที่บ้านเกิดหลวงพ่อเทียน
(บ้านบุฮม เชียงคาน เลย)
อีกเรื่องคือเรื่องความหลงตัวเองว่าเป็นคนมีบุญ มาธุดงค์คราวนี้ ก็ได้รับความช่วยเหลือด้วยดีในหลายๆ อย่าง เช่น ที่พัก อาหาร การเดินทาง เราก็ปลื้มไปอีกว่าฉันนี้มีบุญจริงๆ มีคนช่วยเหลือพาฉันไปส่งถึงที่ พระอาจารย์ก็เทศน์เตือนพวกเราว่า เราเป็นแค่ส่วนหนึ่งในการสร้างบุญกุศลของคนที่ให้เรามา ซึ่งก็เป็นมุมมองที่ดี เพราะบางที นอกจากหลงตัวว่าเป็นคนมีบุญแล้ว ฉันยังไม่ค่อยอยากรับความช่วยเหลือหรือสิ่งของจากใคร เพราะเราไม่อยากเป็นหนี้บุญคุณเค้า (And if I accepted their helps or their stuff, I felt obligated to do them favors in return.) และเราก็ไม่แน่ใจว่าเค้าหวังอะไรจากเราหรือไม่ แต่พอมองว่า การรับของเราทำให้คนอื่นได้สร้างกุศล เราก็รู้สึกยินดี และอนุโมทนาไปด้วย

การไปร่วมเดินช่วงแรก จบลงด้วยเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน ที่ไม่สวยงามซักเท่าไหร่ (Like I was waken up from a really good dream. Before then, I was really pious to the point of fancying the idea of becoming a monastic myself.) แต่เรื่องดีก็ยังมีมากกว่าเรื่องไม่ดี พอเราเคลียร์งานออกไปได้ ก็จะไปเดินอีก ส่วนหนึ่งก็ได้ข้อคิดจากหนังสือ The Rude Awakening ที่พระอังกฤษสายหลวงพ่อชาและฆราวาสฝรั่งไปเดินธุดงค์ที่อินเดีย และเค้ามีปณิธานว่า จะยอมรับในทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น (To embrace life) ฉันก็เลยเอามั่ง My goal was not to make this trip just a hike but I wanted it to be spiritual. I know that to really get a fundamental change in myself, I must take a risk to get out of my comfort zone; for example, to resist the urge to manipulate things or people, no matter how seemingly insensible they are to me.  I did have to force myself into it, but I found that at least I learn to be patient.


ฉันพบว่าความลำบากทางกายเป็นเรื่องง่าย ส่วนหนึ่งเพราะเป็นคนแข็งแรง (ที่อุตส่าห์ถนอมรักษาสังขารนี้ก็ pay off เป็นอย่างดี) และอีกส่วนหนึ่ง ฉันชอบคนอึดๆ ก็เลยอยากเป็นแบบที่ตัวเองชอบ ฉันเชื่อว่าคนอื่นทำได้ ฉันก็ต้องทำได้ ถ้าเค้ากินได้ ฉันก็จะต้องกินได้เช่นกัน แต่เรื่องลำบากใจนี่ยาก Some people are so strange that I have to reconfigure my logic to accept them into my plane.

พอเราเดิน วิวข้างทางผ่านไปช้าๆ (บางที ก็ดูแต่เท้าคนข้างหน้า) ทำให้เราเก็บรายละเอียดได้เยอะ My friend and I drove on this very route last year. But I wasn’t that impressed with it when I traveled 80 km per hour as opposed to when I did 3.5 km per hour. I love old wooden houses, Mekong river, and its mountainous ranges. By the way, we walked about 25 km per day. Thanks to my sandals, my feet were not killing me like they did to some people in our group.

ฉันประทับใจในความมีน้ำใจของคนท้องถิ่นและความเรียบง่ายในวิถีชิวิต not to mention the unusual cuisine that we got to try along the way. ได้กินแกงสะคาน ที่เป็นไม้กลุ่มเดียวกับพริกไทย กินเฉพาะส่วนนุ่มๆ ด้านนอกที่เคื้ยวได้ ได้กินแกงลูกอ๊อด In one village, the elderly who came to offer food to the monks waited until we finished our meals before they took theirs. At Wat หินหมากเป้ง, the layman staff prepared food trays specifically for us because we were guests (their morning chants during the morning meals were absolutely awesome). When we walked along the street, we were offered drinks like soy milk or bottled water, even though I was not a monastic. At one time, we even got canned fish! The fact that we were on the pilgrimage brought about their generosity.

ทักษะอย่างหนึ่งที่ได้มา คือ ตอนนี้ฉันขอนู่นนี่เก่งมาก (แต่ก่อนหยิ่ง ซื้อเอา ไม่ขอ) ที่วัดอรัญบรรพต ไม่มีน้ำขาย ฉันเห็นกระติกน้ำอยู่ข้างหลังบู๊ตขายของที่ระลึก ฉันก็เลยถือขวดน้ำเข้าไปขอเติมน้ำ สักพักก็ไปขอน้ำขวดเพื่อถวายพระ ระหว่างเดิน ฉันพบว่า ไม่จำเป็นต้องซื้อน้ำขวด เพราะบ้านตามต่างจังหวัด เค้ามีตุ่มน้ำฝนกันทั้งนั้น ก็แวะเข้าไปเติมได้เลย บางทีก็เข้าห้องน้ำ บางทีก็ไม่มีห้องน้ำก็ต้องหาที่รกๆ เข้าไปจัดการกับตัวเอง

Another surprise was that I wasn’t that hungry though I ate solid food only once a day. And sometimes alms food were not that plenty. I guess sticky rice was much more filling than regular rice (we had sticky rice as leftovers every day). And I had loads of soy milk and packaged baked stuff like Euro custard cake (something my snobbish me normally doesn't eat) instead. I suppose when I don’t use my brain as much, my body doesn’t need that much food. Plus, when there aren’t any food around, my appetite doesn’t get stimulated. In the evening, we had soy milk, chocolate drinks or, on a rare occasion, juice.

It's difficult to close this post off...  I just feel that as I get older, there aren’t much I can actually hold on to. This morning, I was listening to Luangpor Sumedho’s dhamma talk, and he said that to seek security in something which is inherently insecure is ironic (my word). And the only refuge is in awareness. I’m not to that point yet, but I’m getting there.

Comments